

หนังสือธรรมะเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา
มูลนิธิดวงแก้วได้จัดพิมพ์หนังสือธรรมะเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นประจำทุกปี ปีละ 3-4 เล่ม โดยนำบทบรรยายธรรมของพ่อแม่ครูอาจารย์สายกรรมฐาน หรือการรวบรวมธรรมะที่น่าสนใจมาจัดพิมพ์เพื่อมอบเป็นธรรมบรรณาการแด่ผู้สนใจใฝ่ศึกษา จึงได้รวบรวมหนังสือธรรมะนำมาลงในรูปแบบ ebook ให้ท่านผู้สนใจหาอ่านได้สะดวกยิ่งขึ้น เพื่อหวังว่าจะเกิดประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านและนำไป ปฏิบัติภาวนาบ้างไม่มากก็น้อย อานาปานสติ http://www.duangkaew.org/coverbook/arna.pdf ธรรมคู่แข่งขัน
http://www.duangkaew.org/coverbo


ประวัติ นพ.ปิโยรส ปรียานนท์
https://youtu.be/J_ylMp1Eeks RAdm. Dr. Piyoros Preeyanont M.D. Ph.D ชื่อ พล.ร.ต. นพ.ดร. ปิโยรส ปรียานนท์ ร.น . เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2501 บิดา นพ. ปัญญา ปรียานนท์ ร.น. มารดา นางสินทรา ปรียานนท์ (เป็นธิดาของหลวงทรงบุณยแพทย์, -น.ท.บุญทรง บุณยชาต แพทย์ประจำพระองค์ ในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ) ภรรยา พล.ร.ต. ทันตแพทย์หญิง สพฤดี อุดหนุน ร.น. ทันตแพทย์ประจำกองทันตกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ รพ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กรมแพทย์ทหา


ZEN
Zen เซน เป็นพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ที่มีรูปแบบการประพฤติปกิบัติคล้ายคลึงกับสายวัดป่ากรรมฐานบ้านเรามาก มีการถือศีล นั่งสมาธิ ภาวนา มีการใช้ปัญญาพิจารณาข้อ อรรถ-ธรรม พิจารณาในอุปาทานและขันธ์ทั้งห้า ว่าไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนของเรา ไม่ได้เป็นสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา ทุกการกระทำมีการเจริญ สติ และปัญญา อันเป็นองค์ประกอบหลักในการเข้าถึงพระธรรม “สุญญตา ความว่าง” ความเป็นอิสระจากความทุกข์ทั้งมวล เป็นสภาวะที่นักบวชเซน มุ่งที่จะไปถึง คณาจารย์เซนที่สำคัญๆ ตามที่ปรากฏในหนังสือ “สูตรเว่ยหล่าง” ซี่งเป


จุดเริ่มแห่งการศึกษาเซน 33ปีก่อนของ นพ.ปิโยรส
ที่Soji เป็นที่หลบภัยในอารมภ์ของเด็กเล็กๆคนหนึ่งสมัยไปเรียนที่ญี่ปุ่นเมื่อ33ปีก่อน คล้ายๆกับที่สนส.บางกะม่าที่เป็นที่หลบภัยเวลาใจไม่ยอมหยุด.. วันนั้นมีเรื่องต่างๆมากมาย สำหรับเด็กคนนั้น ภาษาก็ไม่รู้เรื่อง ความภาคภูมิใจต่างๆที่เคยมีในเมืองไทยแทบใช้ไม่ได้เลย ตัวคนเดียว ทุกอย่างต้องเริ่มต้น นร.ทุนรัฐบาลไทยได้เงิน85000เยนต่อเดือน แต่ค่าเช่าบ้านก็80000เยนแล้ว ต้องไปล้างจาน อยู่ปั้มนำ้มันเป็นปีเพราะไม่เคยขอเงินใคร ต้องหาเอง เรียนก็ต้องเรียนภาษาญี่ปุ่นทั้งๆที่ตอนแรกProf.บอกว่าใช้อัง


เปิดเลนส์ส่องโลก-คุณหมอปิโยรส ปรียานนท์
จากรายการเปิดเลนส์ส่องโลก และคุณนิติภูมิได้กล่าวถึงคุณหมอปิโยรส ปรียานนท์ อยากให้แพทย์และว่าที่แพทย์ทุกคนได้อ่านครับ เรื่องของนายแพทย์ปิโยรส ผู้อ่านท่านที่เคารพ ในชีวิตของคนเรานี่นะครับ บางครั้งก็อดไม่ได้ที่จะแอบศรัทธาและภูมิใจในการกระทำของคนอื่น ผมเองก็ชื่นชมศรัทธาผู้คนอยู่หลายท่านหนึ่งในนั้นก็คือ นายแพทย์ ปิโยรส ปรียานนท์ เจอคุณหมอครั้งแรกเมื่อผมไปสอนที่ วิทยาลัยการทัพเรือซึ่ง ตอนโน้นคุณหมอเป็นนายทหารนักเรียนอยู่หลังจากนั้นคุณหมอซึ่งเป็น ประธานมูลนิธิดวงแก้วก็ชวนผมไปหลายประ


คำตอบของความสุข
คำตอบของความสุข หมอปิโยรส ปรียานนท์ วีระศักร จันทร์ส่งแสง : สัมภาษณ์และเรียบเรียง นาวาเอก นพ. ดร. ปิโยรส ปรียานนท์ เป็นหมอประจำอยู่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า เมื่อแรกคุยทาบทามเพื่อขอสัมภาษณ์ คุณหมอบอกว่าชีวิตเขาออกจะเรียบๆ ไม่มีอะไรน่าสนใจ แต่เมื่อขอให้คุณหมอลองเล่าเรื่องราวแต่หนหลังก็กลับพบว่า มีความไม่ธรรมดาอยู่มากมาย ไล่มาแต่ชีวิตวัยเด็ก ที่เขาได้ใกล้ชิดพระพุทธศาสนามาแต่เล็ก จากการที่คุณพ่อพามาฝากไว้กับพระในตอนเย็นๆ ของทุกวัน “ตั้งแต่ได้รับการสอนจากครูบาอาจารย์ ทำให้


การเตรียมงานยกยอดพระบรมธาตุเจดีย์
ร่าง กำหนดการพิธีกฐินและยกยอดพระบรมธาตุเจดีย์ ณ วัดป่าบัวแก้วฯ 21-25 ต.ค.59 สำหรับอาสาสมัคร 21 ต.ค. 2559 ตั้งเต็นท์- ฝั่งวัดและฝั่งเจดีย์ 18.00น ซื้อดอกไม้ ปากคลองตลาด บัว/กล้วยไม้/เครื่องบวงสรวง เสร็จแล้วเดินทางเข้าวัดป่าบัวแก้วฯ 22 ต.ค. 2559 จับระบายผ้า – ประดับดอกไม้ ต้นไม้ 07.30น. ถวายจังหัน 08.00น. รับศีลแปด/ห้า สำหรับผู้มาปฏิบัติ ภาวนา 09.00น. 1 จัดระบายผ้า 1.รอ


องค์ประกอบของ พระบรมธาตุเจดีย์
องค์ประกอบของ พระบรมธาตุเจดีย์ “ญาณสังวรานุสรณ์” องค์ประกอบ
พระบรมธาตุเจดีย์ “ญาณสังวรานุสรณ์”
1.ฉัตร เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศ
2.ยอดเจดีย์-หยาดน้ำค้าง–พระเกตุดอกบัวตูม- หมายถึงรัตนะตรัย
3.ปลียอด ชี้ขึ้นฟ้า เส้นทางสู่พระนิพพาน
4.ปล้องไฉน เปรียบเสมือนตัวฉัตร
5.ก้านฉัตร เป็นก้านของฉัตร
6.บัลลังก์ แสดงถึงวรรณะกษัตริย์
7.องค์ระฆัง หรือ เรือนธาตุ บรรจุพระพุทธรูป
หรือพระบรมสารีริกธาตุ
8.บัวปากระฆัง เป็นฐานบัวบนฐานระฆัง
9.ฐานปัทม์ หรือฐานบัว (ปทุม)
แปดแฉก/กลีบ แสด


การนั่งสมาธิแบบเซน
● ซาเซน... ● ในการปฏิบัติซาเซน ต้องมีห้องที่เงียบ ปราศจากสิ่งรบกวน ควรกินและดื่มให้พอดี ละทิ้งความสัมพันธ์อันเป็นความลวงทิ้งเสียทั้งหมด ปล่อยวางทุกสิ่งไว้เบื้องหลัง ไม่คิดถึงทั้งความดีและความชั่ว ความถูกต้องและความผิดพลาดทั้งปวง เช่นนี้จึงจะเกิดการหยุดกระแสแห่งหน้าที่อันหลากหลายของจิต ละท้งความคิดที่ต้องการบรรลุความเป็นพุทธะ การปฏิบัติเหล่านี้ ไม่เพียงแต่สำหรับรับใช้กับซาเซนเท่านั้น แต่สำหรับทุกขณะในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันทั้งหมดด้วย ● ปูอาสนะบนพื้นที่ต้องการนั่ง และมีเบาะก